ข่าวสาร

กฎ ก.ตร. ว่าด้วยการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ พ.ศ.2567

วันที่ 5 เมษายน 2567 เว็บไซต์ ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ กฎ ก.ตร. ว่าด้วยการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ พ.ศ. 2567 รวม 48 ข้อ โดยมีนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานกรรมการข้าราชการตำรวจ ลงนามในประกาศ เพื่อรักษาความเที่ยงธรรมในการแต่งตั้งและโยกย้ายข้าราชการตำรวจให้เป็นไปตามระบบคุณธรรม การคัดเลือกหรือแต่งตั้งข้าราชการตำรวจต้องพิจารณาจากอาวุโสและความรู้ความสามารถประกอบกัน เพื่อให้ข้าราชการตำรวจสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเที่ยงธรรม มีประสิทธิภาพ ไม่ตกอยู่ใต้อาณัติของบุคคลใด...

ปฎิทินการท่องเที่ยว

Most Popular

กฎหมายน่ารู้

กฎ ก.ตร. ว่าด้วยการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ พ.ศ.2567

วันที่ 5 เมษายน 2567 เว็บไซต์ ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ กฎ ก.ตร. ว่าด้วยการแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ พ.ศ. 2567 รวม 48 ข้อ โดยมีนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานกรรมการข้าราชการตำรวจ ลงนามในประกาศ เพื่อรักษาความเที่ยงธรรมในการแต่งตั้งและโยกย้ายข้าราชการตำรวจให้เป็นไปตามระบบคุณธรรม การคัดเลือกหรือแต่งตั้งข้าราชการตำรวจต้องพิจารณาจากอาวุโสและความรู้ความสามารถประกอบกัน เพื่อให้ข้าราชการตำรวจสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเที่ยงธรรม มีประสิทธิภาพ ไม่ตกอยู่ใต้อาณัติของบุคคลใด...

ข้อควรรู้ หลังปลดล็อก “กัญชา” 9 มิ.ย.65

หลังจาก 9 มิถุนายน 2565 เป็นต้นไป ครบกำหนดให้บังคับใช้ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ปลดกัญชาพ้นจากยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ทำให้การใช้ส่วนประกอบต่างๆ ของกัญชาเป็นสิ่งที่ไม่ผิดกฎหมายยาเสพติด (ในกรณีที่สาร THC หรือสารมึนเมา มีปริมาณไม่เกิน 0.2%) จนกว่าจะมีกฎหมายที่กำกับดูแลการจัดการกัญชาอย่างเป็นทางการ เรามาทำความเข้าใจกันสิ่งไหนทำได้ หรือทำไม่ได้ แบบสรุปสั้นๆ อ่านแล้วเข้าใจง่าย ตามไปดูกันเลย

พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)

PDPA คืออะไร? PDPA ย่อมาจาก Personal Data Protection Act หรือ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็น พ.ร.บ.ที่ว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อให้ข้อมูลถูกนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่เจ้าของข้อมูลได้ให้ยินยอม โดยเฉพาะกับองค์กรที่มีการเก็บข้อมูลของลูกค้า , ผู้ใช้งาน และพนักงาน รวมถึงยังเป็นกฎหมายที่จะเข้ามาช่วยสร้างมาตรฐานการรักษาข้อมูลส่วนบุคคลให้ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น โดย พ.ร.บ.ฉบับนี้ ได้ประกาศไว้เมื่อ 3 ปีที่ผ่านมา (27 พฤษภาคม...

อัตราโทษ “เมาแล้วขับ”

อุบัติเหตุบนท้องถนนที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยส่วนมากมักมีสาเหตุมาจากผู้ขับรถมีอาการเมาแล้วขับ ไม่ว่าจะเป็นการดื่มแอลกอฮอล์เพียงเล็กน้อยไปจนกระทั่งเมาไม่ได้สติก็ทำให้เกิดอุบัติได้เหมือนกันซึ่งเป็นเพราะว่าแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ในการกดประสาท ทำให้สติสัมปัญชัญญะในการตัดสินใจลดน้อยลง ในทางกฎหมายเองก็มีการจำกัดระดับแอลกอฮอล์ในกระแสเลือดของผู้ขับขี่ด้วยเช่นกัน ถ้าเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจพบว่ามีระดับแอลกอฮอล์สูงกว่ากำหนด(ปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดเกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) ผู้ขับขี่ก็จะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายไม่ว่าจะเป็นการปรับเงิน หรือการจำคุก ยิ่งถ้าตรวจพบระดับแอลกอฮอล์เกินกว่ากำหนด ในขณะที่เกิดอุบัติเหตุด้วยแล้วนั้น ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายถูกหรือผิดก็จะโดนโทษหนักมากยิ่งขึ้น โดยในปี 2560 มีการปรับแก้ไขกฎหมายเรื่องเมาแล้วขับให้เข้มงวดมากยิ่งขึ้น ดังนี้ เมาแล้วขับ 1. มีโทษจำคุก 1 ปี 2. ปรับตั้งแต่ 10,000-20,000 บาท 3. หรือทั้งจำทั้งปรับ 4. และศาลสามารถสั่งพักใช้ใบขับขี่ไม่น้อยกว่า...

คู่มือ

Latest Articles

Must Read